งานติดตั้ง
TELEALARM SYSTEM
อุปกรณ์เฝ้าระวังศูนย์คอมพิวเตอร์สามารถแจ้งเตือนสภาวะผิดปกติไปยังชุดควบคุมและส่งการแจ้ง เตือนความผิดปกติของอุปกรณ์ผ่านทางระบบ SMS หรือ E-mail ได้และรองรับการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ สนับสนุนต่ำงๆภำยในห้อง มี2ประเภท ได้แก่ FM GUARD และ REMOTE EXCHANGE CONTROLLER (REX)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-277.png)
Diagram การทำงาน
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-278.png)
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในตู้ระบบแจ้งเตือนอัตโนมัติ ( TELEALARM SYSTEM )
- Cabinet Size 450 x 600 x200 mm. พร้อมแผ่นอะคริลิค
- MCB 1P 10A 220VAC
- Fuse 6A
- Antenna (เสาอากาศตัวผู้)
- FM Guard or REX
- Switching 24VDC 3A (แบบชาร์จแบต)
- Battery 12V 7.2Ah (ตู้ละ2ลูก)
- Terminal (ตำมจ ำนวน FM Guard)
- Wiring and accessories
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-279.png)
หน้าที่ของอุปกรณ์
- Cabinet
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-280.png)
Cabinet ไว้สำหรับประกอบอุปกรณ์ไฟฟ้าไว้ภำยในตู้ไฟสวิทช์บอร์ด เพื่อป้องความปลอดภัยอุปกรณ์ ไฟฟ้าและสามารถกันน้ำ เหมาะสำหรับงานติดตั้งภายในและภายนอกอาคาร
2. MCB
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-281.png)
เซอร์กิตเบรกเกอร์ขนาดเล็ก หรือลูกย่อยที่ใช้ในกำรป้องกันวงจรไฟฟ้า เช่นวงจรแสงสว่างหรือวงจรเต้ำรับ (ปลั๊กไฟ) รวมถึงระบบป้องกันภายในโรงงำนอุตสำหกรรม โดยมีหน้ำทีหลักในการป้องกัน คือ
- ป้องกันกำรใช้กระแสไฟเกินกำหนด (Overload)
- ป้องกันไฟฟ้ำลัดวงจร (Short Circuit)
3.Fuse
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-282.png)
ฟิวส์ (Fuse) เป็นอุปกรณ์ป้องกันวงจรไฟฟ้ำจากการที่มีกระแสไหลผ่ำนวงจรมากเกินไป (Overload Current) หรือเกิดไฟฟ้ำลัดวงจร (Short Circuit Current) ลักษณะกำรทำงานคือเมื่อมีกระแสไฟฟ้ำไหลผ่านฟิวส์จะเกิดกำรเปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้าเป็นพลังงำนความร้อนให้กับฟิวส์เล็กน้อย แต่ถ้ากระแสไฟฟ้ำที่ไหลผ่านฟิวส์มีค่ำมำกเกินไป (Overload Current) จะทำให้พลังงานควำมร้อนที่เกิดขึ้นนั้นมีค่ามากจนฟิวส์หลอมละลำยได้เนื่องจำกฟิวส์นั้นทำจากโลหะที่มีจุดหลอมเหลวต่ำจึงทำให้วงจรขาดได้ง่ำยและเกิดการตัดกระแสไฟออกจากวงจรไฟฟ้ำทันทีเพื่อเป็นกำรป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
4. Antenna (เสาอากาศตัวผู้)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-283.png)
การแปลงสัญญาณวิทยุไปเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ ในการส่งเครื่องส่งวิทยุจะป้อนคลื่นกระแสไฟฟ้าที่ควำมถี่วิทยุ (หรือไฟฟ้ากระแสสลับ(AC)ควำมถี่สูง) ไปยังขั้วไฟฟ้ำทั้งสองของสายอากาศ จำกนั้นสำยอำกาศจะแผ่รังสีพลังงานจากกระแสในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ (คลื่นวิทยุ). ในการรับสายอากาศจะดักจับพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ เพื่อที่จะสร้ำงแรงดันไฟฟ้ำขนำดเล็กที่ขั้วไฟฟ้าของมัน แรงดันไฟฟ้านี้จะถูกส่งต่อไปให้เครื่องรับเพื่อทำการขยายสัญญาณต่อไป
5. อุปกรณ์เฝ้าระวังศูนย์คอมพิวเตอร์
5.1 FM Guard
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-284.png)
FM Guard เป็ นตัวควบคุมการตรวจสอบสัญญาณเตือนภัย ผู้ใช้สำมำรถกำหนดแต่ละอินพุตตาม ชนิดของอุปกรณ์อินพุตจะ interfaced ไป ก่อนจะแจ้งเตือนไฟยังอุปกรณ์ต่างๆที่ติดต้ังเอำไว้เมื่อข้อมูลที่เชื่อม กับ FM Guard เปลี่ยนสถานะจำกปกติที่จะ alarm หรือสัญญาณเตือนมาไม่ปกติอุปกรณ์ที่จะส่งข้อควำม SMS, ส่งรำยงำนผ่านเครือข่าย TCP / IP หรือส่ง e-mail ไปยังเครื่องรับที่กำหนดไว้ล่วงหน้ำ
รูปแบบทางกายภาพ
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-285.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-286.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-287.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-288.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-289.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-290.png)
5.2 REMOTE EXCHANGE CONTROLLER (REX)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-313.png)
REX คือตัวควบคุมการตรวจสอบสัญญำณเตือนภัย โดยผู้ใช้สำมำรถกำหนดแต่ละข้อมูลตำมประเภทของอุปกรณ์ที่มีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องREX ถ้ำข้อมูลที่ทำงำนเปลี่ยนสถานะมีควำมผิดปกติเกิดขึ้นจะมีเตือนภัย SMS จะถูกส่งออกไปยังโทรศัพท์มือถือของผู้ดูแล นอกจำกนี้ในกำรส่งข้อควำม SMSREX ยังมีควำมสามารถในกำรส่ง E-mail ไปยังผู้ดูแลอีกด้วย
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-312.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-311.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-310.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-309.png)
6. Switching Power Supply
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-308.png)
Switching Power Supply นั้นถูกสร้างขึ้นมำเพื่อใช้ในงำนอิเล็กทรอนิกส์ เป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้ำให้กับอุปกรณ์ต่ำงๆ และสามารถเปลี่ยนแรงดันไฟฟ้าจำกไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นแรงดันไฟกระแสตรงได้
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-307.png)
การคงค่าแรงดันจะทำโดยการป้อนค่าแรงดันที่ Output กลับมำยังวงจรควบคุม เพื่อควบคุมให้การนำกระแสมากขึ้นหรือน้อยลงตำมการเปลี่ยนแปลงของแรงดันที่ Output ซึ่งจะมีผลทำให้แรงดัน Output คงที่ได้
7. Battery
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-306.png)
Battery หน้าที่ในการสะสมพลังงำนไฟฟ้าให้เครื่องสำรองไฟฟ้าอัตโนมัติ ขณะที่ขัดข้องของการจ่ายไฟในสภำวะปกติ และเมื่อเกิดภาวะขัดข้องทำงไฟฟ้าที่อำจเกิดจำกไฟฟ้าดับ แบตเตอรี่จะทำหน้ำที่ในการคายพลังงำนไฟฟ้าเพื่อให้เครื่องสำรองไฟฟ้าจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์โดย อุปกรณ์สามารถทำงานได้ระยะเวลำหนึ่งตามที่ได้ทีการออกแบบไว้
8. Terminal Block
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-305.png)
Terminal Block คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่างสำยไฟด้านหนึ่งเข้ำกับสายไฟอีกด้านหนึ่ง หรือใช้เป็นจุดพักสายไฟ เพื่อให้ง่ายและรวดเร็วในการซ่อมบำรุงอุปกรณ์ หรือเพื่อเก็บสำยไฟให้เป็นระเบียบ สำมำรถตรวจสอบจุดที่มีปัญหาต่างๆ ได้ง่าย
สายไฟที่ใช้
1. IEC 01
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-304.png)
ทีเอชดับเบิลยู (THW) แต่ถ้าเป็น มอก. 3-2553 จะเรียกเป็นสาย ไออีซี01 ( IEC01 ) เป็นสำยไฟฟ้าชนิดทนแรงดัน 450/750 V เป็นสายเดี่ยว นิยมใช้กันอย่างกว้างขวำง โดยเฉพาะใน โรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากใช้ในวงจรไฟฟ้า 3 phase ได้ ปกติจะเดินร้อยในท่อร้อยสาย ชื่อ THW เป็นชื่อตามมำตรฐานอเมริกัน ซึ่งเป็นสายชนิดทนแรงดัน 600 V อุณหภูมิใช้งานที่ 75 องศาเซลเซียส
การใช้งาน
- เดินลอย ต้องยึดด้วยวัสดุฉนวน (insulator)
- เดินในช่องเดินสำย ในสถานที่แห้ง
- ห้ามเดินฝังดินโดยตรง
2. AWG
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-303.png)
AWG เป็นหน่วยวัดขนาดของลวดตัวนำไฟฟ้า ที่ใช้ในอเมริกาและแคนนาดา แต่ก็ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก ปกติแล้วเวลาเราจะใช้สายที่จะนำมำต่อเข้ากับวรจร เราต้องคำนึงถึงกระแสที่จะไหลผ่านสายๆนั้นและขนาดของสายให้ เหมาะสมด้วย
ถ้าต้องการ สายที่ต่อจาก power supply เข้ากับ load โดย โหลดนั้นมีการใช้กระแสสูงสุด 10A ควรจะเลือกสายไฟ 20 AWG ขึ้นไป เพรำะสามารถทนกระแสได้สูงกว่า 10A การใช้งาน
- เดินลอย ต้องยึดด้วยวัสดุฉนวน (insulator)
- เดินในช่องเดินสาย ในสถานที่แห้ง
- ใช้ในการเดินภำยในตู้ประกอบหรือตู้ควบคุมต่างๆ
วิธีการต่อสายไฟของตู้ระบบแจ้งเตือนอัตโนมัติ
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-302.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-301.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-300.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-299.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-298.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-297.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-296.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-295.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-294.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-293.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-292.png)
![](https://academy.sitem.co.th/wp-content/uploads/2023/10/ภาพ-291.png)